Amazon (AMZN) มีหน่วยธุรกิจหลายแห่ง ตอนนี้ธุรกิจของ Amazon ได้เติบโตอย่างแข็งแกร่งและอัตรากำไรก็มีท่าทางเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แล้วนักลงทุนไทยจะสร้างผลตอบแทนจากธุรกิจของ Amazon ได้อย่างไร วิธีหนึ่งที่ดีที่สุดก็คือซื้อหุ้นของ Amazon วันนี้ผู้เขียนจะแนะนำวิธีการซื้อ Amazon ให้กับเพื่อนนักลงทุนทุกท่านนะครับ
หากคุณคุณไปเปิดบัญชีกับธนาคารกับตัวกลางบริษัทหลักทรัพย์ในไทย เช่น บริษัทหลักทรัพย์บัวหลวง จะมีความยุ่งยากในการเปิดบัญชี เนื่องจากต้องเตรียมเอกสารข้อมูลต่างๆ และขั้นตอนในการเปิดบัญชีก็ซับซ้อนไปหน่อย
นอกจากนี้แล้ว ในแง่ของค่าธรรมเนียมและต้นทุนในการซื้อขายนั้น วิธีนี้มีค่าธรรมเนียมในการโอนเงินจากไทยไปอเมริกาครั้งละไม่ต่ำกว่า 500-1,000 บาท และบางโบรกเกอร์ยังคงมีการกำหนดเงินขั้นต่ำในการลงทุนที่ 500,000 บาท ทั้งยังมีค่าธรรมเนียมการซื้อขายที่บางโบรกเกอร์คิดเป็นรายครั้ง บางโบรกเกอร์คิดเป็นรายหุ้น ซึ่งรวมแล้วต้นทุนในการซื้อขายหุ้นอเมริกาวิธีนี้ยังคงมีต้นทุนที่สูง อีกทั้งการซื้อหุ้นไม่สามารถแตกเป็นจำนวนย่อยได้ ต้องซื้อในหน่วยหุ้นที่อาจมีมูลค่าสูงถึงหลายหมื่นถึงหลายแสนบาท เช่น Alphabet A ที่ปัจจุบันราคา 52,200 บาท และนักลงทุนต้องวางเงินเต็มจำนวนเท่านั้น
ดังนั้น วิธีการซื้อขายหุ้น Amazon ที่ผู้เขียนจะมาแนะนำในวันนี้คือ ซื้อขายหุ้น Amazon ด้วยเครื่องมือการเงินที่เรียกว่า CFD(Contract for Difference)ซึ่งเป็นวิธีที่มีขั้นตอนการเปิดบัญชีอย่างง่ายและสะดวกดี
CFD(Contract for Difference) หรือ สัญญาซื้อขายส่วนต่าง คือตราสารอนุพันธ์รูปแบบหนึ่งที่นักลงทุนสามารถทำกำไรจากส่วนต่างของราคาปัจจุบันและราคาที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคตของสินทรัพย์อ้างอิงโดยไม่ต้องซื้อสินทรัพย์อ้างอิงนั้นแต่เป็นสัญญาที่ทำการซื้อขายได้ทันทีเพียงส่งคำสั่งซื้อขาย และเสนอความได้เปรียบด้านอัตราทด (Leverage) ให้กับเทรดเดอร์ ทำให้สามารถวางเงินเพียงจำนวนหนึ่งแต่ก็ยังจะได้รับผลตอบแทนเท่ากับการซื้อขายสินค้านั้นจริง ๆ ในที่นี่สินทรัพย์อ้างอิงก็คือหุ้นนั่นเอง
★ ตัวอย่างเช่น
หากราคาหุ้น Amazon ปัจจุบันคือ $3000 USD คุณซื้อหุ้น Amazon 1 ล็อต (1 ล็อตเท่ากับ 1 ตัว) มูลค่ารวม $3000 USD ด้วยการเทรดด้วยเลเวอเรจ เช่น เลเวอเรจ 1:20 คุณฝากเงินเพียง $150 USD ($3000 USD/20) เองก็สามารถเปิดคำสั่งได้แล้ว แทนที่จะต้องจ่ายเงินเต็มจำนวน หากราคาหุ้น Amazon เพิ่มขึ้นไปถึง $3050 USD กำไรที่คุณจะได้คือ $50 USD(3050-3000) ซึ่งจะเท่ากับคุณได้ซื้อหุ้นที่มีมูลค่า $3000 USD โดยผู้เขียนได้ทำการเปรียบเทียบในตารางด้านล่าง
เทรดแบบไม่มีเลเวอเรจ | เทรดแบบมีเลเวอเรจ | |
เลเวอเรจ | 0 | 1:20 |
ราคาเปิด | 3000 USD | 3000 USD |
ราคาปิด | 3050 USD | 3050 USD |
ขนาดการซื้อขาย | 1 ล็อต | 1 ล็อต |
เงินทุนเริ่มต้น | 3000 USD | 150 USD |
กำไรที่ได้ | 50 USD | 50 USD |
อัตราผลตอบแทน | 1% | 66% |
* เลเวอเรจเป็นดาบคมสองด้าน ไม่ใช่ยิ่งสูงยิ่งดี เพราะก็สามารถขยายขาดทุนเช่นกัน นักลงทุนควรหลีกเลี่ยงการใช้เลเวอเรจสูงเกินโดยเฉพาะนักลงทุนมือใหม่ และควรจัดความเสี่ยงให้ดีๆ
สรุปคือ การซื้อขายหุ้น Amazon ผ่านเครื่องมือ CFD จะเหมาะกับนักลงทุนที่มีเงินทุนไม่มากนักแต่ก็ยังมีความคาดหวังที่จะทำกำไรในระยะสั้น และมีความสามารถในการรับความเสี่ยงที่สูง
เพื่อให้นักลงทุนเข้าใจการซื้อขายหุ้น Amazon ด้วย CFD ให้มากขึ้น ต่อไปผู้เขียนขอยกตัวอย่างขั้นตอนการซื้อขายหุ้น Amazon กับโบรเกอร์ Mitrade ที่ผมเทรดมาตลอดมานะครับ
1.เปิดบัญชี การเปิดบัญชีกับ Mitrade จะง่ายและไวมาก ทำออนไหลน์ได้หมดภายในไม่กี่นาที ขอเพียงมีบัตรประชาชนสำหรับเทรดเดอร์มือใหม่ MiTrade มีบัญชีเทรดทดลองพร้อมเงินเสมือนจริง 50, 000 USD อยู่ในบัญชีเพื่อให้เทรดเดอร์ฝึกฝนทักษะการเทรดอย่างไม่มีความเสี่ยงใดๆ
2.ฝากเงินเข้าบัญชี ที่ Mitrade เงินฝากขั้นต่ำต่ำถึง $50 USD(ประมาณ 1500 บาท) เทรดเดอร์สามารถฝากเงินเข้าบัญชีผ่านช่องทางหลากหลาย รวมถึงธนาคารไทยออนไลน์โดยไม่มีค่าธรรมเนียมใดๆ
3.คว้าโอกาสในการเทรด เมื่อฝากเงินเรียบร้อยแล้วเราก็คว้าโอกาสการเทรดหุ้นด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ Mitrade เสนอให้ใช้ฟรี เช่นขาวสด กราฟแบบเรียลไทม์ ปฏิทินทางเศรษฐกิจ ดัชนีความเชื่อมั่นโดยรวม การคาดการณ์จากผู้เชี่ยวชาญเป็นต้น
4.เปิดคำสั่งซื้อขาย เทรดเดอร์สามารถเปิดคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายตามความคาดการณ์ต่อหุ้น หากมองว่ากราฟจะเพิ่มขึ้นก็เปิดคำสั่งซื้อ ในตรงกันข้าม หากมองว่ากราฟจะลดลงก็เปิดคำสั่งขาย
5.เปิดคำสั่งซื้อขาย คุณสามารถเปิดคำสั่งซื้อหรือคำสั่งขายตามความคาดการณ์ต่อหุ้น อย่างที่เรากล่าวไปว่า หากมองว่ากราฟจะเพิ่มขึ้นก็เปิดคำสั่งซื้อ ในตรงกันข้าม หากมองว่ากราฟจะลดลงก็เปิดคำสั่งขาย
วันนี้เราจะแนะนำวิธีการซื้อขายหุ้น Amazon ด้วยเครื่องมือทางการเงิน CFD ซึ่งทำให้นักลงทุนไทยสามารถทำการซื้อขายหุ้น Amazon เพื่อเก็งกำไรได้อย่างง่ายดาย มาเปิดบัญชีทำการเทรดกัน
*** ลงทุนมีความเสี่ยง ในการเทรด CFD ท่านไม่ได้เป็นเจ้าของของสินทรัพย์อ้างอิงใดๆ และอาจไม่เหมาะสมสำหรับนักลงทุนทุกท่าน ซึ่งอาจส่งผลให้ท่านสูญเสียเงินลงทุนขั้นต้น เพื่อเข้าใจถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นท่านควรพิจารณา เอกสารเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยง ก่อนที่จะใช้บริการของเรา
การลงทุนมีความเสี่ยง เนื้อหาของบทความนี้ใช้สำหรับการอ้างอิงเท่านั้น ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
คำเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยง: การซื้อขายอาจทำให้คุณสูญเสียเงินทุนทั้งหมด การซื้อขายอนุพันธ์แบบ OTC อาจไม่เหมาะสำหรับทุกคน โปรดพิจารณาเอกสาร PDS, FSG, คำชี้แจงการเปิดเผยความเสี่ยงและข้อตกลงลูกค้าก่อนใช้บริการของเรา และตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องทั้งหมด โปรดทราบว่าคุณไม่ได้เป็นเจ้าของหรือมีผลประโยชน์ใด ๆ ในสินทรัพย์อ้างอิง